ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
-รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
-พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังต่อปัยนี้ คือ
1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม ถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิติทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, เครื่องเอกซเรย์
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทีเอ็ม
3.เทคโนโลยีที่้ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
5.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครืองถ่ายไมโครฟิล์ม
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์,
วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่งระยะใกล้ระยะไกล
ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการเอาเทคโนโลยีสานสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจ และทางการศึกษา ดังตัวอย่าง เช่น
-ระบบเอทีเอ็ม
-การบริการและการทำธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต
-การลงทะเบียบเรียน
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท
ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ
สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความ หรือ ตัวอักษร
ตัวเลขและภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
การใช้อินเตอร์เน็ต
งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาพบว่า
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง
เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น
ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อการ
เรียนรู้ การติดตามข่าวสารของสถานศึกษา
ใช้อินเตอร์เน็ต ทำอะไรได้บ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาใช้อินเตอร์เน็ตในการสนทนากับเพื่อนๆ และการค้นข้อมูลจากห้องสมุด
นอกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประกอบการทำรายงาน
สถาบันที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน
นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ในรูปแบบไหนบ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้น้อย ได้แก่
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-Learning
วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
-การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
-บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI) หรือ (Computer Aided Instruction)
-วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD)
-หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
-ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)
การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ต (Internet)
หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ
รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ
จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)
โดยผู้เรียนผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ
โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยสำหรับทุกคน
โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ (Learning for all :
anyone, anywhere and anytime)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI)
คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและ
พิจารณามาเป็นอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด
การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตาม
ระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นไเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย
ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง และ/หรือ ทั้งภาพและเสียง
ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนำหนักการเบื้องต้นทางวิตวิทยาการเรรยนรู้มาใช้ในการ
ออกแบบโดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้ (Learning Behavior)
ทฤษฎีการเสริมสร้างแรง (Reinforcement Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขปฎิบัติ
(Operant conditioning Theory )
ซึ่งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมสร้างแรง
เป็นสิ่งสำคัญ
โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียนไปสู่การเรียนรุ้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งอาศัยการ
สอนที่มีการวางโปรแกรมไว้ล่วงหน้า
เป็นการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและมีผลย้อนหลังกลับทันทีและ
เรียนรุ้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหมาะสมตามความต้องการและความสามารถของตน
วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD) คือ
ระบบการเรียนดูภาพยนตร์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือก
ดูภาพยนตร์หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ ตามสโลแกนที่ว่า
"To view what one wants, when one wants".
โดยสามารถใช้งานนี้ได้จารเครือข่ายสื่อสาร (Telecommunication Networks)
ผู้ใช้งาน ซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย (Video Client)
สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกเมื่อตามต้องการและสามารถควบ
คุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ (Rewind) หรือกรอไปข้างหน้า
(Forward) หรือหยุดชั่วคราว (Pause)
ได้เปรียบเสมือนการดูวิดีโอที่บ้านนั่นเองทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
ไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกันกล่าวคือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกัน
หรือต่างกันก็ได้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
คือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่าน
ได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นในการอ่านหนังสือประเภทนี้คือ
ฮาร์ดแวร์ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ
พร้อมทั้งติดตั้งระบบปฎิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ
ตัวอย่างเช่น ออร์แกไนเซอร์แบบพกพา พีดีเอ เป็นต้น ส่วนการดึงข้อมูล
e-books
ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีการดาวน์โหลด
ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์ของ e-books
หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้าง e-books จะสามารถเลือกได้สี่รูปแบบ
คือ Hyper Teat Markup Language (HTML) , Portable Document Format (PDF) ,
Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language (XML)
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)
เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
คุณลักษณะที่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ คือ
1.การจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2.ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยทางอิเล็กทรอนิกส์
3.บรรณารักษ์หรือบุคลากรของห้องสมุดสามารถแทรกการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับห้องสมุดได้ เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ได้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์
4.ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำส่งสารสนเทศสู่ผู้ใช้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
-รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
-พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังต่อปัยนี้ คือ
1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม ถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิติทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, เครื่องเอกซเรย์
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทีเอ็ม
3.เทคโนโลยีที่้ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
5.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครืองถ่ายไมโครฟิล์ม
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์,
วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่งระยะใกล้ระยะไกล
ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการเอาเทคโนโลยีสานสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจ และทางการศึกษา ดังตัวอย่าง เช่น
-ระบบเอทีเอ็ม
-การบริการและการทำธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต
-การลงทะเบียบเรียน
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท
ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ
สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความ หรือ ตัวอักษร
ตัวเลขและภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
การใช้อินเตอร์เน็ต
งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาพบว่า
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง
เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น
ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อการ
เรียนรู้ การติดตามข่าวสารของสถานศึกษา
ใช้อินเตอร์เน็ต ทำอะไรได้บ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาใช้อินเตอร์เน็ตในการสนทนากับเพื่อนๆ และการค้นข้อมูลจากห้องสมุด
นอกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประกอบการทำรายงาน
สถาบันที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน
นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ในรูปแบบไหนบ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้น้อย ได้แก่
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-Learning
วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
-การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
-บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI) หรือ (Computer Aided Instruction)
-วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD)
-หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
-ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)
การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ต (Internet)
หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ
รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ
จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)
โดยผู้เรียนผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ
โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยสำหรับทุกคน
โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ (Learning for all :
anyone, anywhere and anytime)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI)
คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและ
พิจารณามาเป็นอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด
การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตาม
ระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นไเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย
ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง และ/หรือ ทั้งภาพและเสียง
ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนำหนักการเบื้องต้นทางวิตวิทยาการเรรยนรู้มาใช้ในการ
ออกแบบโดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้ (Learning Behavior)
ทฤษฎีการเสริมสร้างแรง (Reinforcement Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขปฎิบัติ
(Operant conditioning Theory )
ซึ่งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมสร้างแรง
เป็นสิ่งสำคัญ
โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียนไปสู่การเรียนรุ้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งอาศัยการ
สอนที่มีการวางโปรแกรมไว้ล่วงหน้า
เป็นการให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและมีผลย้อนหลังกลับทันทีและ
เรียนรุ้ไปทีละขั้นตอนอย่างเหมาะสมตามความต้องการและความสามารถของตน
วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD) คือ
ระบบการเรียนดูภาพยนตร์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือก
ดูภาพยนตร์หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ ตามสโลแกนที่ว่า
"To view what one wants, when one wants".
โดยสามารถใช้งานนี้ได้จารเครือข่ายสื่อสาร (Telecommunication Networks)
ผู้ใช้งาน ซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย (Video Client)
สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกเมื่อตามต้องการและสามารถควบ
คุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ โดยสามารถย้อนกลับ (Rewind) หรือกรอไปข้างหน้า
(Forward) หรือหยุดชั่วคราว (Pause)
ได้เปรียบเสมือนการดูวิดีโอที่บ้านนั่นเองทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
ไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกันกล่าวคือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกัน
หรือต่างกันก็ได้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
คือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่าน ได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นในการอ่านหนังสือประเภทนี้คือ ฮาร์ดแวร์ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งติดตั้งระบบปฎิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น ออร์แกไนเซอร์แบบพกพา พีดีเอ เป็นต้น ส่วนการดึงข้อมูล e-books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีการดาวน์โหลด ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์ของ e-books หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้าง e-books จะสามารถเลือกได้สี่รูปแบบ คือ Hyper Teat Markup Language (HTML) , Portable Document Format (PDF) , Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language (XML)
คือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่าน ได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นในการอ่านหนังสือประเภทนี้คือ ฮาร์ดแวร์ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่นๆ พร้อมทั้งติดตั้งระบบปฎิบัติการหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ ตัวอย่างเช่น ออร์แกไนเซอร์แบบพกพา พีดีเอ เป็นต้น ส่วนการดึงข้อมูล e-books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีการดาวน์โหลด ผ่านทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์ของ e-books หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้าง e-books จะสามารถเลือกได้สี่รูปแบบ คือ Hyper Teat Markup Language (HTML) , Portable Document Format (PDF) , Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language (XML)
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)
เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
คุณลักษณะที่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ คือ
1.การจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2.ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยทางอิเล็กทรอนิกส์
3.บรรณารักษ์หรือบุคลากรของห้องสมุดสามารถแทรกการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับห้องสมุดได้ เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ได้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์
4.ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำส่งสารสนเทศสู่ผู้ใช้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์